วันพฤหัสบดีที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บทความเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

บทความการบริหารโรงเรียนเพี่อมุงสูความเปนเลิศ
การบริหารโรงเรียนเพื่อมุงสูความเปนเลิศ  จะเกิดขึ้นไดดวยวิธีการบริหารแบบบูรณาการ ในทุกขั้นตอนและทุกคนจะตองมีสวนเกี่ยวของ  เครื่องบงชี้หรือมาตรวัดจะอยูที่ผูบริหารซึ่งมีบทบาทสูงสุด ในการจัดระบบการศึกษาในระดับโรงเรียน ดังนั้น ผูบริหารโรงเรียนตองเปนผูที่มีความรูความเขาใจใน เรื่องการบริหารการศึกษา มีวิสัยทัศนที่กวางไกล  เพื่อกำหนดเปาหมาย กำหนดยุทธศาสตรในการจัด การศึกษาไดอยางเปนรูปธรรมและมีความเปนไปได  และที่สำคัญผูบริหารโรงเรียนจะตองรูและเขาใจถึง ภารกิจตลอดจนขอบขายงานที่รับผิดชอบอยางชัดเจน  ไดแก งานวิชาการ ซึ่งมีขอบขายงานเกี่ยวกับการ กำหนดหลักสูตร สื่อการเรียนการสอน วัสดุประกอบการเรียนการสอน งานวัดและประเมินผล งานหองสมุด งานนิเทศภายใน งานวางแผนและกำหนดวิธีการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอน เปนตน งานบุคลากร มีขอบขายงานเกี่ยวกับการจัดบุคลากรเขาปฎิบัติงาน งานการพัฒนาบุคลากร งานธำรงรักษาบุคลากร  งาน รักษาระเบียบวินัย และงานประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร งานกิจกรรมนักเรียน มีขอบขายงาน เกี่ยวกับการปฎิบัติตาม พ.ร.บ.ของตัวผูเรียน งานเตรียมความพรอมสำหรับนักเรียน  งานที่โรงเรียนจัดบริการ ใหนักเรียน งานเกี่ยวกับอาหารกลางวันและงานบริหารแนะแนว เปนตน งานธุรการ มีขอบขายงานเกี่ยวกับ งบประมาณการเงิน งานพัสดุ  งานสารบรรณ งานทะเบียน งานรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่  งาน อาคารสถานที่ มีขอบขายงานเกี่ยวกับการจัดอาคารสนถานที่  การใชอาคารสถานที่ การบำรุงรักษาอาคาร สถานที่ งานควบคุมดูแลอาคารสถานที่  และการประเมินผลการใชอาคารสถานที่ งานความสัมพันธ ระหวางโรงเรียนกับชุมชน มีขอบขายงานเกี่ยวกับการใหบริการแกชุมชนในดานตาง ๆ  การรับความ ชวยเหลือสนับสนุนจากชุมชน กรรมการศึกษา  การสรางความสัมพันธกับชุมชนและหนวยงานอื่น ๆ  การ จัดตั้งกลุมชมรมสมาคมหรือมูลนิธิ และการประชาสัมพันธ เปนตน
ขณะเดี่ยวกันผูบริหารโรงเรียนตองพัฒนาระบบงานของโรงเรียน  ใหมีประสิทธิภาพใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  ที่มุงเนนการพัฒนาคุณภาพของผูเรียน จำนวน  ๕ มาตรฐาน ๑๔ ตัว บงชี้ คือ
มาตรฐานที่ ๑ โรงเรียนใชแผนเปนเครื่องมือในการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ
ตัวบงชี้ ๑ จัดระบบขอมูลสารสนเทศไดครบถวน ถูกตอง ตรงกับความตองการและทันตอ การใชงาน
ตัวบงชี้ ๒ แผนของโรงเรียนเกิดจากการมีสวนรวมของชุมชนใหสอดคลัองกับสภาพ โรงเรียน มีเปาหมายหมายชัดเจนและมุงเนนคุณภาพนักเรียน
ตัวบงชี้ ๓ จัดระบบงานชัดเจนคลองตัวในการปฏิบัติงานมอบหมายงานตรงความรู  ความสามารถ สงเสริมบุคลากรใหมีปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน
ตัวบงชี้ ๔ ควบคุมกำกับ ติดตามและนิเทศใหการดำเนินงานบรรลุตามแผน
มาตรฐานที่ ๒ โรงเรียนสนับสนุนใหบุคลากรเกิดความมุงมั่นในการพัฒนางาน
ตัวบงชี้ ๑   สงเสริมพัฒนาบุคลากรใหสามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนางานอยาง    ตอเนื่อง
ตัวบงชี้ ๒ จัดสวัสดิการสิ่งอำนวยความสะดวก และประโยชนตอบแทนในการปฏิบัติงาน ไดอยางเหมาะสมเปนธรรม
มาตรฐานที่ ๓ โรงเรียนจัดกิจกรรมหลากหลายเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
ตัวบงชี้ ๑ จัดกิจกรรมทางวิชาการ บริการแนะแนว บริการสุขภาพอนามัย  โภชนาการ และกิจกรรมชวยเหลือนักเรียนอยางทั่วถึงและเหมาะสม
ตัวบงชี้ ๒ จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูดานศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษสิ่งแวดลอม
ตัวบงชี้ ๓ จัดแหลงความรูสื่อและเทคโนโลยีที่เอื้อตองานการเรียนการสอน
ตัวบงชี้ ๔ จัดสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนใหมีบรรยากาศที่สงเสริมการเรียานรู
มาตรฐานที่ ๔ โรงเรียนประสานความรวมมือจากทุกฝายเพื่อพัฒนาโรงเรียน
ตัวบงชี้ ๑ ดำเนินการเพื่อประสานความรวมมือกับกรรมการโรงเรียนชุมชนและหนวยงาน อื่นในการพัฒนาโรงเรียน
ตัวบงชี้ ๒ จัดกิจกรรมประชาสัมพันธการดำเนินงานของโรงเรียนไดรวดเร็วทันเหตุการณ และตอเนื่อง
มาตรฐานที่ ๕ โรงเรียนประเมินผลการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ
ตัวบงชี้ ๑ ประเมินการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง โดยใชวิธีหลากหลายและทุกฝายมี              วนรวม
ตัวบงชี้ ๒ นำผลการประเมินไปใชนิเทศและการพัฒนางานอยูเสมอ
หลักการและแนวคิดการบริหารองคกรเพื่อความเปนเลิศ
สภาพการในปจจุบันองคกรทางธุรกิจ  รัฐวิสาหกิจ และแมแตราชการก็ตาม มักจะไดรับ ผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมตาง ๆ  ประกอบดวย เศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง จึงมีผลใหองคกรตองตกอยูในสภาวะที่มีอุปสรรคในการดำเนินการเพื่อใหองคกรดำรงอยูได  ประกอบกับสภาวะของการแขงขันขององคกรตาง ๆ  จะเพิ่มทวีความรุนแรงขึ้นทั้งในรูปแบบของสินคาการ บริการ ดานคุณภาพ ความประหยัดในการดำเนินงาน  ซึ่งสภาวะดังกลาวทำใหเปนภาระตอการบริหาร องคการที่จะตองพยายามแสวงหาแนวทางการปรับองคการเพื่อใหกาวไปสู ความเปนเลิศโดยผูบริหาร จะตองตระหนักและใหความสำคัญตอการแสวงหายุทธวิธีการบริหารเพื่อมุงสูความเปนเลิศ  ซึ่งหลักการ แนวคิดการบริหารองคกรเพื่อความเปนเลิศจะมีหลากหลาย  ซึ่งผูบริหารสามารถศึกษาและหายุทธวิธีตามที่ ผูบริหารเห็นวามีความเหมาะสมกับองคกร  ในที่นี้จะเสนอประเด็นเพื่อเปนแนวทางในการบริหารองคกร เพื่อความเปนเลิศ ดังนี้
๑. กรอบแนวคิดการบริหารแบบมุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององคกร
๒. กรอบแนวคิดการบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ์ และ
๓. กรอบแนวคิดตามคุณลักษณะ ๘  ประการของความเปนเลิศในการบริหาร
๑. กรอบแนวคิดการบริหารแบบมุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพขององคกร
งานขององคกร คือ การผลิตสินคาหรือบริการใหกับลูกคา  หากจะตองมององคประกอบ ในแงของระบบ องคการเปนระบบบริหารที่ดำเนินงานเพื่อบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว  ๓ ระบบใหญ คือ ทรัพยากรที่ใช (resource input) กระบวนการแปรรูป (transformation process) และผลผลิต (product output) ทรัพยากรที่ปอนเขาระบบที่สำคัญก็คือ คน  วัตถุดิบ เงิน เทคโนโลยี และ ขอมูล กระบวนการ แปรรูปไดแก งานของผูบริหาร  องคการที่จะเปลี่ยนสภาพจากวัตถุดิบไปเปนสินคาหรือบริการ  ลูกคาเปน ผูบริโภคผลผลิตขององคการพรอมทั้งสะทอนกลับ (feedback) ผลของการบริโภคสินคาและบริการกลับ ไปยังองคกร ประกอบดวย
ผลการปฏิบัติของผูบริหาร (Management Performance)
ตามที่กลาวมาแลว การวัดผลการปฏิบัติงานของผูบริหารนั้นใหดูผลการผลิต (Productivity) วาสูงหรือต่ำ คำวา ผลการผลิต หมายถึง การวัดผลรวมทางดานปริมาณและคุณภาพของงานที่ทำ เมื่อ เปรียบเทียบกับทรัพยากรที่ใช หมายความวา  จำนวนทรัพยากรระดับหนึ่ง ผูบริหารกอใหเกิดผลการผลิต ดวยปริมาณและคุณภาพเทาไร หากพิจารณาในแงของสมการก็จะไดดังนี้
Productivity = Quantify + Quality + Resource
กลาวอีกนัยหนึ่งวา ผลการผลิตที่สูงสุดคือไดงานปริมาณมากที่สุด  ไดคุณภาพดีที่สุด และ ใชทรัพยากรประหยัดที่สุด
การวัดผลรวมของผลการผลิต อาจทำไดหลาย ๆ รูปแบบแลวแตลักษณะงานที่ทำ เชน  อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนตอทรัพยสินลงทุน  รายไดจากคาเชาตอตารางเมตร อัตราการสูญเสียที่เกิด จากการใชวัตถุดับตอผลผลิต อัตราคนทำงานตอชั่วโมง เปนตน
ในอีกแงหนึ่งของการวัดผล คือ การเปรียบเทียบผลผลิตกับทรัพยากรที่ใชภายในระยะเวลา และคุณภาพที่กำหนด โดยเขียนไดดังนี้
Product output
Productivity =
(Within a time, Quality)
Resource input
การวัดผลการผลิตในความหมายนี้  ผูบริหารสามารถผลิตสินคาไดภายในเวลาที่กำหนด และไดคุณภาพมาตรฐานที่ตองการ  โดยไดผลผลิตจำนวนหนึ่งดวยทรัพยากรที่ใชจำนวนหนึ่ง  ดังนั้น การ เพิ่มผลการผลิตอาจกระทำได ๓ วิธี คือ เพิ่มผลผลิตโดยใชทรัพยากรเทาเดิม  ลดการใชทรัพยากรโดยได ผลผลิตที่เทาเดิม และการเพิ่มผลผลิตและลดการใชทรัพยากรลง
นอกจากนี้ การวัดผลการผลิต (productivity) ตามที่กลาวแลวอาจวัดไดจากประสิทธิผล (effectiveness) และประสิทธิผล (efficiency) ประสิทธิผล หมายถึง การทำงานใหบรรลุเปาหมายที่ ตองการในแงของผูบริโภคสินคาไดปริมาณและคุณภาพตรงกับความตองการของผูบริโภค  ประสิทธิภาพ หมายถึง ทำงานโดยเสียคาใชจายต่ำหรือประหยัดคาใชจายในแงของการผลิตสินคา  ประสิทธิภาพก็คือ  ผลิตสินคาไดปริมาณและคุณภาพที่กำหนดโดยเสียคาใชจายต่ำ
ความมีประสิทธิผลขององคการ (Organization Effectiveness)  เปนหัวขอที่สำคัญตอการ วิเคราะหและขัดเกลาพฤติกรรมองคการที่เกิดจากการบริหารงาน วามีประสิทธิภาพเพียงใด ความมี ประสิทธิผลขององคการจะมีขึ้นได ขึ้นอยูกับเงื่อนไขที่วาองคการสามารถทำประโยชนจากสภาพ          แวดลอมจนบรรลุเปาหมายที่ตั้งใจไว แตสิ่งที่สำคัญที่อยูเบื้องหลังควบคูกับประสิทธิผล  ก็คือความมี ประสิทธิภาพ (Efficiency) ซึ่งหมายถึง การมีสมรรถนะสูง สามารถมีระบบการทำงานสรางสมทรัพยากร และความมั่งคั่งเก็บไวภายใน ไวเพื่อการขยายตัวตอไปและเพื่อเอาไวสำหรับรับรองสถานการณที่อาจเกิด วิกฤตการณ็จากภายนอกดวยดวย
ธงชัย สันติวงษ ไดกลาววา นักวิชาการหลายทานไดชี้ใหเห็นถึงความแตกตางระหวางคำ วา ประสิทธิผลขององคการ (Organization Effectiveness) และประสิทธิภาพขององคการ (Organization Effectiveness) ไวดังนี้ (ธงชัย สันติวงษ. ๒๕๔๑ : ๒๕๓๓)
ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ความสำเร็จในการที่สามารถดำเนินกิจการ          กาวหนาไปและสามารถบรรลุเปาหมายตาง ๆ ที่องคการตั้งไวได
ประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การเปรียบเทียบทรัพยากรที่ใชไปกับผลที่ไดจากการ ทำงานวาดีขึ้นอยางไร แคไหน ในขณะที่กำลังทำงานตามเปาหมายขององคการ
ดังนั้น ผูบริหารที่ทำงานไดผลการผลิตสูง (high productivity) คือ ทำงานไดบรรลุผลตาม ตองการและเสียคาใชจายต่ำ แตการจะใหเกิดความสมดุลทั้งประสิทธิผลและประสิทธิภาพจึงเปนเรื่องยาก บางทีอาจไดอยางเสียอยาง คือ  ทำงานไดตามเปาหมายแตเสียคาใชจายสูง (effectiveness no efficiency) หรือ เสียคาใชจายต่ำแตผลงานไมบรรลุตามเปาหมาย (efficiency no effectiveness) และที่ผลการผลิตต่ำสุดก็คือ งานไมบรรลุตามเปาหมายและเสียคาใชจายสูง (neither effectiveness no efficiency) ในแงการวัดผลการ ปฏิบัติงานของผูบริหารจะตองพิจารณาสวนประกอบที่สำคัญ  ๒ สวน คือ ทรัพยากรขององคการและลูกคา  องคการที่ไดชื่อวา บริหารงานดีจะตองใชทรัพยากรอยางถูกตอง เหมาะสมและตรงกับความตองการของ ลูกคา การใชทรัพยากรอยางถูกตองเหมาะสมจะตองใชในลักษณะการสรางมูลคาเพิ่ม (value – added) ใหกับทรัพยากรที่ใช นั่นคือ ทุกขั้นตอนของการผลิตหรือการทำงานของผูบริหารจะตองเพิ่มมูลคาใหกับ สินคาหรือบริการขององคการ
สำหรับการบริหารการศึกษานั้น ผูบริหารการศึกษาและผูบริหารสถานศึกษา  จึงตองให ความสำคัญของประสิทธิผล และปริสทธิภาพ  รวมถึงตองตระหนักถึงปริมาณและคุณภาพที่เกิดขึ้นในตัว นักเรียนแ ละนักศึกษา ดวย
๒. กรอบแนวคิดของการบริหารงานแบบมุงผลสัมฤทธิ์
การปฏิรูประบบราชการเปนนโยบายหนึ่งที่รัฐบาลไทยใหความสำคัญ  เนื่องจากการปฏิรูป ราชการกำลังเปนเรื่องที่รัฐบาลประเทศตาง ๆ  ใหความสนใจเพราะวาการรับขาวสารของประชาชนไดรับ การยกระดับใหสูงขึ้น ดังนี้ การบริการของรัฐที่ยังไมตอบสนองความตองการของประชาชนอยางทัน เหตุการณ งานลาชา ซ้ำซอน ไมมีประสิทธิภาพ  โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับการใหบริการของภาคธุรกิจ เอกชน การมีกฎระเบียบรุงรัง ไมยัดหยุน  ระบบการทำงานไมโปรงใสและไมสามารถแกปญหาทางเศรษฐกิจและ สังคมตอการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วในยุคโลกรภิวัฒน  จึงจำเปนตองไดรับการเปลี่ยนแปลงและไดรับการ ปฏิรูป เทคนิคหนึ่งที่หลายประเทศไดนำมาใชเปนสวนหนึ่งของการปฏิรูปราชการ คือ การบริหารที่เนนผล (Result – Oriented Management หรือ Results Based Management) หรือเรียกอีกอยางวาการบริหารแบบ มุงผลสัมฤทธิ์
การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์ เปนรูปแบบการบริหารที่เนนความรับผิดชอบ (Accountability) ของรัฐบาลตอประชาชน กลาวคือ  รัฐบาลจะตองแสดงใหเปนที่ประจักษแกประชาชน          วารัฐไดใชงบประมาณแผนดินไปอยางมีประสิทธิภาพและไดผลอยางไร โดยการแสดงถึงผลได มีผลงาน อะไรบาง
การบริหารแบบมุงผลสัมฤทธิ์  เปนการจัดหาใหไดทรัพยากรการบริหารมาอยางประหยัด (Economy) การบริหารทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และการไดผลงานที่บรรลุเปาหมายของ องคการ หรือประสิทธิผลการทำงาน (effectiveness)
๓. กรอบแนวคิดตามคุณลักษณะ  ๘ ประการของความเปนเลิศในการบริหาร
สำหรับคุณลักษณะความเปนเลิศในเชิงการบริหารที่คนพบจากการวิจัยที่บริษัทอเมริกัน ประสบผลสำเร็จในการดำเนินงานอยางสูง ๘ ประการ ประกอบดวย
๒.๑ มุงเนนการปฏิบัต (a bias for action)
๒.๒ มีความใกลชิดกับลูกคา (close to the customer)
๒.๓ มีความอิสระในการทำงานและมีความรูสึกเปนเจาของกิจการ (autonomy and entrepreneurship)
๒.๔ เพิ่มผลผลิตโดยอาศัยพนักงาน (productivity through people)
๒.๕ สัมพฟสกับงานอยางใกลชิด  และความเชื่อมั่นในคุณคาเปนแรงผลักดัน (hands-on and value driven)
๒.๖ ทำธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญและเกี่ยวเนื่อง (stick to the knitting)
๒.๗ รูปแบบเรียบงายธรรมดา พนักงานอำนวยการมีจำกัด (simple form and lean staff)
๒.๘ เขมงวดและผอนปรนในเวลาเดียวกัน (simultaneous loose-tight properties)
สรุป การบริหารโรงเรียนไปสูความเปนเลิศ  เปนเรื่องสำคัญที่ผูบริหารโรงเรียนจะตอง ตระหนักและใหความสำคัญตอการจัดระบบการบริหารทั้ง  ๖ ดาน คือ งานดานวิชาการ  งานบุคลากร งาน กิจกรรมนักเรียน งานธุรการ งานอาคารสถานที่  และงานความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน  ใหมี
ประสิทธิภาพและตองมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ  โดยเฉพาะการพิจารณาจาก
กระบวนการบริหารงานใหเปนไปตามมาตรฐานโรงเรียน  ๕ มาตรฐาน คือ
๑. โรงเรียนใชแผนเปนเครื่องมือในการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ
๒. โรงเรียนสนับสนุนใหบุคลากรเกิดความมุงมั่นในการพัฒนางาน
๓. โรงเรียนจัดกิจกรรมหลากหลายเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
๔. โรงเรียนประสานความรวมมือจากทุกฝายเพื่อพัฒนาโรงเรียน
๕. โรงเรียนประเมินผลการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ
เรียบเรียงโดย นางเพชรฤทัย  อกนิษฐ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น